อย่างไรเรียกว่ามีไข้
มีไข้ หรือ อาการตัวร้อน เป็นอาการแสดงทางการแพทย์ที่พบบ่อย มีไข้นั้น หมายถึงการที่ร่างกายมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น มากกว่า 37.4 องศาเซลเซียง ( อุณภูมิปกติของคนทั่วไป คือ 36.5 – 37.4 องศาเซลเซียส ) หากมีอุณภูมิสูงมากขึ้น ร่างกายจะสั่นสะท้านได้เนื่องมาจากตึงตัวของกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ทางการแพทย์ได้แบ่งระดับของไข่ออกเป็น 3 ระดับตามอุณภูมิกายดังนี้
ไข้ต่ำๆ (Low fever) หมายถึง ลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 37.5 – 38.4 องศาเซลเซียส
ไข้ปานกลาง (Moderate fever)หมายถึง ลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 38.5 – 39.4 องศาเซลเซียส
ไข้สูง (High fever) หมายถึงลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 39.5 – 40.4 องศาเซลเซียส
ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) หมายถึง ลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 40.5 องศาเซลเซียส
ปัจจุบัน มีการพัฒนากเครื่องมือวัดไข้ ออกมาในหลายๆรูปแบบให้คุณแม่ได้เลือกใช้ตามความสะดวก เครื่องมือดังกล่าวมี วิธีวัดไข้ และระยะเวลาในการวัดที่แตกต่างกัน ดังนี้
ไข้ปานกลาง (Moderate fever)หมายถึง ลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 38.5 – 39.4 องศาเซลเซียส
ไข้สูง (High fever) หมายถึงลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 39.5 – 40.4 องศาเซลเซียส
ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) หมายถึง ลูกคุณแม่มีอุณหภูมิ 40.5 องศาเซลเซียส
ปัจจุบัน มีการพัฒนากเครื่องมือวัดไข้ ออกมาในหลายๆรูปแบบให้คุณแม่ได้เลือกใช้ตามความสะดวก เครื่องมือดังกล่าวมี วิธีวัดไข้ และระยะเวลาในการวัดที่แตกต่างกัน ดังนี้
1.การวัดไข้ ทางหน้าผาก (forehead thermometer) เป็นวิธีการวัดที่เหมาะกับเด็กทุกวัย ใช้แบบ infrared thermometer หรือ อุปกรณ์ทำด้วยแผ่นพลาสติกมีแถบสารไวต่อความร้อนติดอยู่ใช้กับหน้าผากจึงไม่ต้องสอดใส่เข้าไปในร่างกาย ใช้งานง่ายเพียงวางบนหน้าผากของลูก แต่การวัดทางหน้าฝากด้วยแผ่นพลาสติกไม่ค่อยแม่นยำมากนัก ทางการแพทย์ จึงไม่นิยมใช้
ให้คุณแม่ ทาบแถบเทอร์โมมิเตอร์ไว้กับหน้าผากลูกน้อย อย่าให้มือแตะถูกบริเวณตัวเลย
ทิ้งไว้ประมาณ 15 วินาที ตัวเลขจะค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้น
คุณแม่สามารถอ่านค่าอุณหภูมิ หลังจากที่ตัวเลขหยุดการเคลื่อนไหวแล้ว
วิธีวัดไข้ทางหน้าผากแบบ infrared thermometer สดวก รวดเร็วกว่าา
ทิ้งไว้ประมาณ 15 วินาที ตัวเลขจะค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้น
คุณแม่สามารถอ่านค่าอุณหภูมิ หลังจากที่ตัวเลขหยุดการเคลื่อนไหวแล้ว
วิธีวัดไข้ทางหน้าผากแบบ infrared thermometer สดวก รวดเร็วกว่าา
2. การวัดไข้ ใต้รักแร้ (Under the armpit thermometer) เหมาะกับเด็กอายุ 1 ปีขึ้นไป ง่ายและสะดวก ใช้ได้กับเทอร์โมมิเตอร์แบบปรอทและดิจิตอล แต่มีความแม่นยำน้อยที่สุด ทางการแพทย์ใช้เฉพาะบางกรณีเท่านั้น
ให้คุณแม่นั่งชิดกับลูก โดยให้ลูกอยู่ในท่าที่ผ่อนคลายที่สุด
คุณแม่ต้องตรวจดูให้แน่ใจว่าบริเวณใต้วงแขนของลูกแห้ง และใส่บริเวณกระเปาะไว้ใต้แขน ต้องแน่ใจด้วยว่าบริเวณกระเปาะอยู่แนบชิดกับผิวหนัง หากลูกดิ้นสามารถกอดลูกไว้หรือให้นมลูกไปด้วยก็ได้
คุณแม่อาจจะจับแขนลูกให้แน่น โดยอาจจับแขนลูกมาวางพาดบนหน้าอก ใช้เวลาประมาณ 2 นาที แล้วอ่านค่า อุณหภูมิที่อ่านได้จะต่ำกว่าอุณหภูมิของร่างกายจริง ประมาณ 0.6 องศาเซลเซียส หรือ 1 องศาฟาเรนไฮต์
3. การวัดไข้ทางปาก (Oral thermometer) วิธีนี้เหมาะสำหรับเด็กอายุ 5 ปีขึ้นไป เพราะลูกสามารถระมัดระวังไม่เคี้ยวหรือกัดหลอดและสามารถอมใต้ลิ้นด้วยตนเองได้ วัดอุณหภูมิได้แม่นยำ นิยมใช้ตามโรงพยาบาล วิธีการไม่ยุ่งยาก
คุณแม่ต้องตรวจดูให้แน่ใจว่าบริเวณใต้วงแขนของลูกแห้ง และใส่บริเวณกระเปาะไว้ใต้แขน ต้องแน่ใจด้วยว่าบริเวณกระเปาะอยู่แนบชิดกับผิวหนัง หากลูกดิ้นสามารถกอดลูกไว้หรือให้นมลูกไปด้วยก็ได้
คุณแม่อาจจะจับแขนลูกให้แน่น โดยอาจจับแขนลูกมาวางพาดบนหน้าอก ใช้เวลาประมาณ 2 นาที แล้วอ่านค่า อุณหภูมิที่อ่านได้จะต่ำกว่าอุณหภูมิของร่างกายจริง ประมาณ 0.6 องศาเซลเซียส หรือ 1 องศาฟาเรนไฮต์
3. การวัดไข้ทางปาก (Oral thermometer) วิธีนี้เหมาะสำหรับเด็กอายุ 5 ปีขึ้นไป เพราะลูกสามารถระมัดระวังไม่เคี้ยวหรือกัดหลอดและสามารถอมใต้ลิ้นด้วยตนเองได้ วัดอุณหภูมิได้แม่นยำ นิยมใช้ตามโรงพยาบาล วิธีการไม่ยุ่งยาก
ต้องแน่ใจว่าลูกพูดรู้เรื่อง ไม่เคี้ยวปรอทจนแตก
วางเทอร์โมมิเตอร์ใต้ลิ้นประมาณ 2 นาที แล้วอ่านค่า
วางเทอร์โมมิเตอร์ใต้ลิ้นประมาณ 2 นาที แล้วอ่านค่า
4.การวัดไข้ทาหู วิธีนี้เหมาะสำหรับเด็กอายุ 3 เดือนขึ้นไป เพราะถ้าต่ำกว่านี้ร่องหูเด็กจะแคบไม่สามารถสอดใส่เซ็นเซอร์ได้อย่างเหมาะสม สะดวกตรงที่ทำให้เด็กรู้สึกสบาย ง่ายต่อการวัด ไม่อันตรายต่อ แก้วหู แต่เสี่ยงต่อความคลาดเคลื่อนสูง หากวางไม่ตรงกึ่งกลางของรูหู เป้นวิธีที่นิยม เพราะสะดวกสบายแต่ราคาค่อนข้างสูง
จับลูกนอนตะแคงในท่าที่ลูกสบายและอยู่นิ่งเฉย
เสียบเทอร์โมมิเตอร์เข้าไปในช่องหูให้ตรงจุด คือบริเวณรูหู ถ้าไม่ตรงจะทำให้ได้ผลที่ไม่ถูกต้อง
รอจนกระทั่งเสียงดังปี๊บ แสดงว่าวัดไข้เสร็จแล้ว
เสียบเทอร์โมมิเตอร์เข้าไปในช่องหูให้ตรงจุด คือบริเวณรูหู ถ้าไม่ตรงจะทำให้ได้ผลที่ไม่ถูกต้อง
รอจนกระทั่งเสียงดังปี๊บ แสดงว่าวัดไข้เสร็จแล้ว
5. การวัดไข้ทางทวารหนัก (Rectal thermometer ) เป็นเหมาะสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า18เดือน เป็นที่ยอมรับทางการแพทย์มากที่สุดเนื่องจากได้ค่าที่แม่นยำสุงสุด แต่ก็มีความเสี่ยงหากสอดใส่เทอร์โมมิเตอร์ลึกเกินไป เพราะเด็กบางรายดิ้นขณะทำการวัด
ทากระเปาะของปรอทด้วยเบบี้ออยล์หรือวาสลีนเพื่อหล่อลื่น
จับเด็กนอนหงายในท่าที่สบาย ถอดผ้าอ้อมออก ใช้มือข้างหนึ่งจับข้อเท้าทั้ง 2 ข้างของเด็กยกขึ้น
หรือจับให้ลูกนอนคว่ำบนตัก วางมือบนหลังลูกเพื่อป้องกันลูกดิ้น
ค่อยๆ สอดแท่งปรอทเข้าไปในก้นลึกประมาณ 1 นิ้ว ปล่อยไว้ 30 วินาที-2 นาที (ขึ้นอยู่กับชนิดของเทอร์โมมิเตอร์) แล้วดึงออกเช็ดวาสลีนที่ติดอยู่แล้วอ่านอุณหภูมิ
หลังจากถอดเทอร์โมมิเตอร์ออกจากก้นลูกอาจจะอึหรือผายลมออกมาอย่าตกใจไป
จับเด็กนอนหงายในท่าที่สบาย ถอดผ้าอ้อมออก ใช้มือข้างหนึ่งจับข้อเท้าทั้ง 2 ข้างของเด็กยกขึ้น
หรือจับให้ลูกนอนคว่ำบนตัก วางมือบนหลังลูกเพื่อป้องกันลูกดิ้น
ค่อยๆ สอดแท่งปรอทเข้าไปในก้นลึกประมาณ 1 นิ้ว ปล่อยไว้ 30 วินาที-2 นาที (ขึ้นอยู่กับชนิดของเทอร์โมมิเตอร์) แล้วดึงออกเช็ดวาสลีนที่ติดอยู่แล้วอ่านอุณหภูมิ
หลังจากถอดเทอร์โมมิเตอร์ออกจากก้นลูกอาจจะอึหรือผายลมออกมาอย่าตกใจไป
เมื่อลูกมีตัวร้อนอย่าเพิ่งตกใจไปนะคะ ตั้งสติและวัดไข้ก่อนเสมอ เมื่อทราบอุณภูมิของลูกแล้ว คุณแม่จะได้จัดการกับอาการของลูกได้อย่างถูกต้อง หากลูกมีไข้ต่ำๆ คุณแม่สามารถเช็ดดัวลดไข้ด้วยน้ำก๊อก อุณภูมิปกติได้เลย หากเด็กเล็กอายุน้อยกว่า6เดือน แนะนำเช็ดด้วยน้ำอุ่น และวัดอุณภูมิซ้ำหลังเช็ดตัวทุก 30 นาที การณีลูกมีอุณหภูมิ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป แนะนำให้คุณแม่เช็ดตัวลดไข้และรับประทานยาลดไข้ เสร็จแล้วให้รีบพาลูกนำส่งโรงพยาบาลเพื่อตรวจหาสาเหตุของไข้ตามแผนการรักษาของเเพทย์ คุณแม่หลายๆคนตกใจ ลูกมีไข้ต่ำๆก็ให้ทานยา เป็นการปฐมพยาบาลที่ไม่ถูกต้อง จำไว้เสมอ การเช็ดตัวลดไข้เป็นสิ่งที่แม่ต้องรีบทำก่อนถึงมือแพทย์ เพื่อป้องกันลูกชัก
0 ความคิดเห็น